ยะหา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยะลา
อยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย อนึ่งคำว่า ยะหา
(มาเลย์: Johar, Juar) อันเป็นชื่อ ของอำเภอ เป็นคำในภาษามลายูที่มีความหมายว่า
"ต้นขี้เหล็ก" พื้นที่ของอำเภอยะหาแยกมาจากอำเภอเมืองยะลาในปี พ.ศ. 2481
สมัยหลวงรัชกาลประดิษฐ์ (แปะ) เป็นเจ้าเมืองยะลาและหมื่นเสนานุรักษ์ (ประดิษฐ์
ศุภอักษร)ปลัดเมืองยะลา ในขณะนั้นได้สำรวจพื้นที่และคัดเลือกตำบลยะหาเป็นที่ตั้งที่ว่าการอำเภอยะหา
เบื้องต้นแบ่งออกเป็น 11 ตำบล ได้แก่ ตำบลยะหา ตำบลตาชี
ตำบลบาโงยซิแน ตำบลสะเอะ ตำบลบาโร๊ะ ตำบลปะแต ตำบลซีเยาะ
ตำบลบาโงย ตำบลชะเมาะ และตำบลลาบู
ตำบลยะหา อาจจะเป็นอำเภอหนึ่ง ที่ไม่ค่อยมีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ
หรือเเม้กระทั่งเทคโนโลยี เเต่เมื่อเวลาผ่านไปนับนาน เเม้กระทั่งเศรษฐ
กิจเเละเทคโนโลยี ได้กลับกลายมามีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตเรามากขึ้น
จนทำให้หมู่บ้านของเรามีความเจริญรุ่งเรืองมากขึ้นจนถึงปัจจุบันนี้
ซึ่งส่วนใหญ่เเล้วประชากรในตำบลยะหา จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนมาก
เช่น ปลูกยางพารา ยังมีอาชีพรับจ้าง เช่น คนสวนกรีดยางเเละค้าขาย
ทำให้ประชากรมีรายได้มากขึ้น
เเม้กระทั่งทางด้านเทคโนโลยีหลายเเห่งหลายสถานที่ที่มีการติดตั้งร้าน
อินเตอร์เน็ต จึงง่ายต่อการศึกษาหาข้อมูลสำหรับผู้ที่สนใจจะใช้บริการ
โดยส่วนใหญ่เเล้วตำบลยะหามักจะใช้ชีวิตเเบบเรียบง่าย
เเละตำบลยะหาประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทย เชื้อสายมลายู
นับถือศาสนาอิสลามเป็นจำนวนมาก ถึงร้อยละ 93
เเละยังมีประชากรที่นับถือศาสนาพุทธ เป็นจำนวนน้อย อยู่เช่นเดียวกัน
ตำบลยะหาเป็นอำเภอหนึ่งที่น่าอยู่ บรรยากาศดี ปลอดภัยจากควันพิษทั้งหลาย
เเละการใช้เครื่องยานพาหนะก็มีไม่มากนัก เลยทำให้ไม่ค่อยมีเสียงรบกวน
ดิฉันเริ่มเข้ามาอาศัยตำบลยะหามาเป็นเวานับนาน 11 ปี
เลยทำให้ดิฉันคุ้นเคยกับที่นี้มากขึ้น
ตำบลยะหา ทรัพยากรธรรมชาติส่วนใหญ่ค่อนข้างจะสมบูรณ์ทั้งแร่ธาตุ ป่าไม้ สัตว์ป่า และแหล่งน้ำต่างๆ เเละตำบลยะหายังเน้นให้ประชาชนทุกพื้นที่ หันมาเล่นกีฬาสร้างสุขสภาพพลานามัยที่แข็งแรงและมีการพัฒนาโครงการสร้างพื้นฐาน ตามความต้องการของชุมชน เพื่อเสริมสร้างความอยู่ดีกินดี ของประชาชน
http://th.wikipedia.org/wiki
ผู้จัดทำ: เด็กหญิงยัซมีน บาฮี ชั้นม.2/2 เลขที่ 24 โรงเรียน พัฒนาวิทยา ยะลา
ถึงยัซมีน บาฮี
ตอบลบครูตรวจงานแล้วนะครับ ครั้งที่ ๑ คะแนน ๑๐ คะแนน ได้ ๖ คะแนนครับ
ครูขอเป็นกำลังใจให้ในการปรับปรุงเรียงความให้สมบูรณ์นะครับ ดังนี้
๑. ปรับชื่อเรื่องให้น่าสนใจและน่าติดตาม
๒ เขียนเรียงความให้เป็นเอกภาพมากยิ่งขึ้น
๓. จัดข้อความให้น่าสนใจ
๔. บอกแหล่งที่มาของข้อมูลในการเขียนเรียงความ เช่น เวบไซต์ที่ใช้ในการสืบค้น เป็นต้
ลบยะหา ปักษ์ใต้บ้านเรา
ยะหา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยะลา อยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย อนึ่งคำว่า ยะหา (มาเลย์: Johar, Juar) อันเป็นชื่อ ของอำเภอ เป็นคำในภาษามลายูที่มีความหมายว่า "ต้นขี้เหล็ก" พื้นที่ของอำเภอยะหาแยกมาจากอำเภอเมืองยะลาในปี พ.ศ. 2481 สมัยหลวงรัชกาลประดิษฐ์ (แปะ) เป็นเจ้าเมืองยะลาและหมื่นเสนานุรักษ์ (ประดิษฐ์ ศุภอักษร)ปลัดเมืองยะลา ในขณะนั้นได้สำรวจพื้นที่และคัดเลือกตำบลยะหาเป็นที่ตั้งที่ว่าการอำเภอยะหา เบื้องต้นแบ่งออกเป็น 11 ตำบล ได้แก่ ตำบลยะหา ตำบลตาชี ตำบลบาโงยซิแน ตำบลสะเอะ ตำบลบาโร๊ะ ตำบลปะแต ตำบลซีเยาะ ตำบลบาโงย ตำบลชะเมาะ และตำบลลาบู
ตำบลยะหา อาจจะเป็นอำเภอหนึ่ง ที่ไม่ค่อยมีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ หรือเเม้กระทั่งเทคโนโลยี เเต่เมื่อเวลาผ่านไปนับนาน แม้กระทั่งเศรษฐกิจเเละเทคโนโลยี ได้กลับกลายมามีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตเรามากขึ้น จนทำให้หมู่บ้านของเรามีความเจริญรุ่งเรืองมากขึ้นจนถึงปัจจุบันนี้ ซึ่งส่วนใหญ่เเล้วประชากรในตำบลยะหา จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนมาก เช่น ปลูกยางพารา ยังมีอาชีพรับจ้าง เช่น คนสวนกรีดยางและค้าขาย ทำให้ประชากรมีรายได้มากขึ้น แม้กระทั่งทางด้านเทคโนโลยีหลายเเห่งหลายสถานที่ที่มีการติดตั้งร้าน อินเตอร์เน็ต จึงง่ายต่อการศึกษาหาข้อมูลสำหรับผู้ที่สนใจจะใช้บริการ โดยส่วนใหญ่เเล้วตำบลยะหามักจะใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย และตำบลยะหาประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทย เชื้อสายมลายู นับถือศาสนาอิสลามเป็นจำนวนมาก ถึงร้อยละ 93 เเละยังมีประชากรที่นับถือศาสนาพุทธ เป็นจำนวนน้อย อยู่เช่นเดียวกัน ตำบลยะหาเป็นอำเภอหนึ่งที่น่าอยู่ บรรยากาศดี ปลอดภัยจากควันพิษทั้งหลาย เเละการใช้เครื่องยานพาหนะก็มีไม่มากนัก เลยทำให้ไม่ค่อยมีเสียงรบกวน ดิฉันเริ่มเข้ามาอาศัยตำบลยะหามาเป็นเวลานับนาน 11 ปี เลยทำให้ดิฉันคุ้นเคยกับที่นี้มากขึ้น
ในตำบลยะหาอาจจะมีบางครั้งบางคร่าอาจจะมีสถานการณ์ไม่สงบ เเต่ประชาชนทุกคนก็ไม่เคยเเตกเเยกความสามัคคีกัน อยู่ด้วยกันอย่างมีเหตุมีผล ไม่เอารัดเอาเปรียบ โดยส่วนใหญ่เเล้ว ประชาชนอาจจะไม่ได้รำไม่ได้รวยสักเท่าไหร่ เเต่พวกเราก็อยู่อย่างสันติสุข บนเส้นทางเศรษฐกิจพอเพียง ตามหลักพระราชดำรัชของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตำบลยะหา เป็นตำบลเล็กๆตำบลหนึ่ง สถานที่สำคัญก็มีไม่มากนัก เช่น ศาลาดูดวงจันทร์ ซึ่งเป็นสถานที่สำคัญมากกับชาวมุสลิม หรือเเม้กระทั่งชาวยะหาเอง และตำบลยะหายังมีการรณรงค์ในด้านสุขภาพ มั่นให้ประชาชนทุกคนหันมาใส่ใจในสุขภาพ และการกิน ณ ปัจจุบันนี้
สมัยนี้อะไร ๆ มันก็เปลี่ยนแปลงไปหมด อยากให้เป็นเหมือนแต่ก่อนมากกว่า เพราะชอบบรรยากาศ สดชื่นดี ไม่เหมือนสมัยนี้ อะไรๆก็เปลี่ยนไปหมด ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง การทำลายป่าไม้ การทะเลาะวิวาท การไม่เคารพแก่กัน แต่ ณ ตำบล ยะหา ที่เคยอยู่ ก็ยังเป็นความทรงจำที่ดี ..ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ไหน จะอยู่ที่หนใด อย่างไรก็ตาม บ้านเกิด คือ บ้านที่ฉันรักมากที่สุด
เเหล่งที่มา http://search.hao123.co.th/s?wd=ต้นขี้เหล็ก
http://contentcenter.prd.go.th
จัดทำโดย เด็กหญิงยัซมีน บาฮี ชั้น ม.2/2 เลขที่ 24 (ส่งครั้งที่ 2)